upcycle | งานฝีมือ รีไซเคิล


 

 

 

ร้าน AMRITA เปิดในปี 2555 เดิมเป็นร้านขายของกระจุกกระจิกที่ประตูท่าแพ หลังจากนั้นได้ย้ายอยู่ไปแถวพระสิงห์ และเป็นร้านกาแฟและช็อปในบ้านไม้หลังเก่า
เมนูอาหารมังสวิรัติมีมากมายและเป็นที่นิยมของชาวตะวันตก

นอกจากนี้ยังขึ้นชื่อในฐานะร้านกาแฟที่คนญี่ปุ่นเมื่อได้เดินทามาเชียงใหม่จะต้องไปแวะเวียนที่ร้านกาแฟแห่งนี้

เจ้าของร้าน AMRITA  คือ คุณเฟย ที่เป็นคนไทย กับ คุณมากิโกะ ที่เป็นคนญี่ปุ่น.
สองคนเป็นทีมที่สร้างสรรค์คานคุณภาพ โดยคุณมากิโกะจะเป็นผู้วางแผนและออกแบบเป็นหลัก ส่วนคุณเฟยก็เป็นผู้สร้างชิ้นงานให้เป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา

สถานการณ์แพร่กระจายของการติดเชื้อโควิด

 

 

 

 

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะเป็นในช่วงสถานการณ์โควิด ทางร้านก็ดำเนินกิจกรรมต่างๆ ทางออนไลน์และสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าต่อไปอยู่เรื่อยๆ
ตัวอย่างเช่น ที่งานออนไลน์ชื่อว่า “ตลาดเชียงใหม่” สินค้าเบ็ดเตล็ดต่างและเสื้อผ้าที่รวบรวมมาจากตลาดส่งขายไปทั่วโลกในราคาที่เท่ากับราคาที่ขายเชียงใหม่ เพื่อให้ผู้ชมรู้สึกเหมือนว่าได้ไปชมที่ตลาดในเชียงใหม่! งานนี้เป็นที่นิยมมากจนขายหมดในเวลาอันสั้น

หากคุณเป็นคนไทยที่ต้องการขายของให้กับคนญี่ปุ่น แนะนำคุณให้ลองปรึกษากับทางร้าน  AMRITA ได้

โดยล่าสุดเขาได้จัดกิจกรรม upcycle ซึ่งนำภาชนะญี่ปุ่นที่ซื่อจาก “ร้านขายของมือสองญี่ปุ่น” นำมาเป็นโคมไฟแฟชั่น ตกแตง
ในญี่ปุ่นมีคำว่า “mottainai” ที่แปลว่า “เสียดาย” มาเป็นแนวคิดในการใช้สิ่งต่าง ๆ อย่างระมัดระวัง

ทั้งสองคนคิดว่าคงจะดีแน่นอนถ้าภาชนะมือสองของญี่ปุ่นสามารถนำกลับมาใช้ใหม่เป็นภาชนะบนโต๊ะอาหารได้ และพวกเขาจะมีความสุขมากยิ่งขึ้นถ้าได้ภาชนะที่ปรับแต่งจนเป็นเป็นโคมไฟที่สวยงามและยังเป็นการตกแต่งภายในของบ้านได้

สามารถติดตามผลงานของทางร้านผ่านอินสตาแกรม โดยจะแสดงสินค้า และของเก่าจากญี่ปุ่น ครั้งละสัปดาห์
สามารถติดตามได้

 

 

 

original

 

アムリタ・ガーデンは、2012年にターペー門にオリジナルのギフトショップとしてオープンしました。その後、プラシン地区に移転して、木造の古民家でカフェ&ショップとして営業してきました。
ビーガンの食事メニューが豊富で、欧米人にとても人気があります。 また日本人がチェンマイに来たら必ず立ち寄るカフェとして有名です。

アムリタ・ガーデンのオーナーはタイ人のフォイさんと日本人のまきこさん。
主にまきこさんが企画やデザインをして、フォイさんがそれを実現していく頼もしいチームです。

海外からのツーリストのお客様が多いお店だったため、コロナの感染拡大とともに実店舗は休業しています。
それでも、コロナ禍のさなかオンラインでいろんな企画を開催して、お客様とのつながり続けています。

例えば「チェンマイマーケット」というオンライン・イベントでは、見る人たちがチェンマイのマーケットに行ったような気分になるように…と市場や露店で集めた雑貨や衣類をほぼチェンマイの価格のままで世界中に販売しました。開始時刻とともに売り切れが続出するほどの人気だったそうです。 もし、日本人向けに何か販売したいタイ人はアムリタに相談するといいですよ!

最近は、チェンマイ人が大好きな「日本のセカンドハンドショップ」で集めた日本食器をインテリア照明にアップサイクルする活動を行っています。
日本には「もったいない」という言葉があって、ものを大事に使う考え方が浸透しています。
日本の中古の食器が食器として再利用されることはもちろんのこと、素敵な照明に生まれ変わってタイの家庭のインテリアになればこんなに嬉しいことはない、と二人は言います。

他にも、アムリタインスタグラムでは、これらの照明や古くて美しい日本の古道具を週に一度販売しています。
ぜひチェックしてみてください!